ข้ามไปเนื้อหา

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2567

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2567

← 2566   2568 →

จำนวนทั้งสิ้น 9 จังหวัดที่มีการเลือกตั้ง
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ ไม่สังกัดพรรค
ที่นั่งก่อนหน้า 11 1 64
ที่นั่งหลังเลือกตั้ง 12 63
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1
คะแนนเสียง
%
จังหวัดที่ชนะ 1 0

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ.) ทั้งสิ้น 9 จังหวัด สืบเนื่องจากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดทั้ง 9 คน ลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระ

การเลือกตั้ง[แก้]

เรียงลำดับตามวันที่จัดการเลือกตั้ง


เลย[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย สืบเนื่องจากธนาวุฒิ ทิมสุวรรณ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลยได้ลาออกจากตำแหน่ง[1] โดยมีผู้สมัครทั้งหมด 4 ราย ดังนี้

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า ชัยธวัช เนียมศิริ ได้รับเลือกตั้ง[2]

คะแนนเสียง
ชัยธวัช เนียมศิริ
  
46.61%
จีระศักดิ์ น้อยก่ำ
  
38.68%
นาวิน วังคีรี
  
3.34%
ชวลิตย์ น้อยดี
  
1.20%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพัฒนา ชัยธวัช เนียมศิริ (1) 119,334 46.61 '
อิสระ จีระศักดิ์ น้อยก่ำ (2) 99,031 38.68
อิสระ นาวิน วังคีรี (3) 8,544 3.34
อิสระ ชวลิตย์ น้อยดี (4) 3,060 1.20
ผลรวม 256,011 100.00
บัตรดี 229,969 89.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 15,304 5.98
บัตรเสีย 10,738 4.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 256,011 51.15
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 500,509 100.00

นครสวรรค์[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567[3] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ สืบเนื่องจากพลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

  • หมายเลข 1 พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดกลุ่มนครสวรรค์บ้านเรา
  • หมายเลข 2 ร้อยตํารวจโท ธรัตนชัย เฉลยคาม อดีตผู้สมัคร สส.นครสวรรค์ เขต 6 พรรคก้าวไกล สังกัดอิสระ[4][a] (ขาดคุณสมบัติ)
  • หมายเลข 3 ขนิษฐา ดอกไม้ทอง เจ้าของสำนักงานบัญชี[5]


ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ ได้รับการดำรงตำแหน่งอีกสมัย


คะแนนเสียง
สมศักดิ์ จันทะพิงค์
  
80.16%
ขนิษฐา ดอกไม้ทอง
  
19.84%


ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มนครสวรรค์บ้านเรา พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ (1)* 198,501 80.16
อิสระ ขนิษฐา ดอกไม้ทอง (3) 49,130 19.84
อิสระ ร้อยตํารวจโท ธรัตนชัย เฉลยคาม (2)
ผลรวม 247,631 100.00
บัตรดี 247,631 79.66 %
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 29,750 9.57 %
บัตรเสีย 33,461 10.76 %
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 310,842 37.59 %
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 826,864 100.00

อ่างทอง[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567[6] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง สืบเนื่องจากสุรเชษ นิ่มกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทองได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

  • หมายเลข 1 สุรเชษ นิ่มกุล อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง[7] กลุ่มสำนึกรักบ้านเกิด

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า สุรเชษ นิ่มกุล ได้รับการดำรงตำแหน่งอีกสมัย

ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2567[8]
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มสำนึกรักบ้านเกิด สุรเชษ นิ่มกุล (1)* 82,741 100.00 + 43.42
ผลรวม 82,741 100.00
บัตรดี 82,741 79.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,919 14.41
บัตรเสีย 5,841 5.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,501 46.84
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 220,977 100.00

ปทุมธานี[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี สืบเนื่องจากพลตำรวจโท คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานีได้ลาออกจากตำแหน่ง[9] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ชาญ
  
47.40%
คำรณวิทย์
  
46.97%
นพดล
  
3.97%
อธิวัฒน์
  
1.66%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ชาญ พวงเพ็ชร์ (1)✔ 203,032 47.40 +4.94
กลุ่มคนรักปทุม พลตำรวจโทคำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง (3)* 201,212 46.97 -1.28
อิสระ นพดล ลัดดาแย้ม (4) 16,983 3.97
อิสระ อธิวัฒน์ สอนเนย (2) 7,122 1.66
ผลรวม 428,349 100.00
บัตรดี 428,349 90.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 32,885 6.96
บัตรเสีย 11,302 2.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 472,536 49.77
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 949,421 100.00

พะเยา[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567[10] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา สืบเนื่องจาก อัครา พรหมเผ่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยาได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

  • หมายเลข 1 ชัยประพันธ์ สิงห์ชัย อดีตผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2563 คณะก้าวหน้า และอดีตผู้สมัคร สส.พะเยา เขต 3 พรรคก้าวไกล ลงสมัครในฐานะกลุ่มพะเยาก้าวไกล
  • หมายเลข 2 ธวัช สุทธวงค์ อดีตรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา และอดีตผู้สมัคร สส.พะเยา เขต 2 พรรคพลังประชารัฐ พ.ศ. 2562 โดยมี อัครา พรหมเผ่า อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยาให้การสนับสนุน โดยได้ชี้แจงว่า ตนเองไม่ได้ลงสมัครนายก อบจ.พะเยาในครั้งนี้ แต่ได้มอบให้ อดีตรองนายก อบจ.พะเยา ลงสมัครแทน ส่วนตนเองนั้นจะไปเล่นการเมืองในระดับสูงขึ้นไป หรือการเมืองระดับชาติ[11]
คะแนนเสียง
ชัยประพันธ์ สิงห์ชัย
  
100.00%
ธวัช สุทธวงค์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพะเยาก้าวไกล ชัยประพันธ์ สิงห์ชัย (1)
อิสระ ธวัช สุทธวงค์ (2)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

พระนครศรีอยุธยา[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567[12] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สืบเนื่องจาก สมทรง พันธ์เจริญวรกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ลาออกจากตำแหน่ง[13] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้[14]


คะแนนเสียง
วัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์
  
100.00%
สมทรง พันธ์เจริญวรกุล
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มก้าวใหม่อยุธยา วัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์ (1)
อิสระ สมทรง พันธ์เจริญวรกุล (2)*
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ชัยนาท[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาท สืบเนื่องจาก อนุสรณ์ นาคาศัย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาทได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้[15]

  • หมายเลข 1 จิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา อดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นพี่สาวของนายอนุสรณ์ นาคาศัย อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาท
  • หมายเลข 2 ปัญญา ไทยรัตนกุล อดีตนายกเทศมนตรีหันคา และ อดีตผู้สมัคร สส.ชัยนาท เขต 2 พรรคพลังประชารัฐ
  • หมายเลข 3 สุทธิพจน์ เชื้ออภัยวงษ์ อดีตผู้สมัคร สส.ชัยนาท เขต 2 พรรคก้าวไกล ลงสมัครในฐานะผู้สมัครอิสระ


คะแนนเสียง
จิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา
  
100.00%
ปัญญา ไทยรัตนกุล
  
100.00%
สุทธิพจน์ เชื้ออภัยวงษ์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ จิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา (1)
อิสระ ปัญญา ไทยรัตนกุล (2)
อิสระ สุทธิพจน์ เชื้ออภัยวงษ์ (3)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ชัยภูมิ[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2567[16] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ สืบเนื่องจาก อร่าม โล่ห์วีระ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้ประสงค์จะสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
อร่าม โล่ห์วีระ
  
100.00%
สุรีวรรณ นาคาศัย
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ อร่าม โล่ห์วีระ ()*
อิสระ สุรีวรรณ นาคาศัย ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

พิษณุโลก[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก สืบเนื่องจาก มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลกได้ลาออกจากตำแหน่ง[18] โดยมีผู้ประสงค์จะสมัครทั้งหมดดังนี้

หมายเหตุ[แก้]

  1. เดิมมีตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญประจำตัว สส.ของพรรค แต่เพื่อให้เป็นไปตามมติของพรรคก้าวไกล ที่จะไม่ส่งผู้สมัครชิงตำแหน่งนายก อบจ.นครสวรรค์ และผู้ที่มีตำแหน่งในพรรคไม่อาจลงสมัครแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้ได้ จึงลาออกจากตำแหน่งเพื่อมาลงสมัครในนามส่วนตัว

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "นายก อบจ.เลย (นายกอาร์ท) ขอลาออกจากตำแหน่ง". อปท.นิวส์. 2024-02-07.
  2. "อดีตผู้ว่าฯ เลย "ชัยธวัช เนียมศิริ" ชนะขาด ได้นั่งเก้าอี้นายก อบจ.เลยสมใจ". mgronline.com. 2024-04-01.
  3. เคาะ 23 มิ.ย. เลือกตั้งใหม่ นายก อบจ.นครสวรรค์ เริ่มรับสมัคร 13 พ.ค. หลัง สมศักดิ์ ลาออก
  4. ""รองหมู" ไขก๊อก พ้นอกก้าวไกล ลงสมัครอิสระ ชิง อบจ.ปากน้ำโพ คว้าเบอร์ 2". www.thairath.co.th. 2024-05-14.
  5. "สมัครนายอบจ.นครสวรรค์ 3 คน กกต.อบจ.นครสวรรค์ เปิดรับสมัคร ผู้ที่มีความประสงค์จะลงสมัครรับเลือกตั้ง เป็นนายกอบจ.นครสวรรค์ 5 วัน มีสมัคร 3 คน". khupandin.com.
  6. ไทม์ไลน์เลือกตั้ง นายก อบจ.อ่างทอง หลัง ‘กำนันตี๋’ ทิ้งเก้าอี้ หย่อนบัตร 23 มิ.ย.
  7. "รับสมัครนายก อบจ.อ่างทอง กองเชียร์แห่ให้กำลังใจผู้สมัครคึกคัก". mgronline.com. 2024-05-13.
  8. "นับคะแนนแล้ว 100% นายกตี๋ สุรเชษ ชนะเลือกตั้งนายก อบจ.อ่างทอง ได้ 8.2 หมื่นเสียง". matichon.co.th. 2024-06-23.
  9. "ด่วน บิ๊กแจ๊ส ไขก๊อกนายก อบจ.ปทุมฯ เผยนัดลาออก 3 จว. เหตุช่วยปชช.ไม่ได้". www.thairath.co.th. 2024-05-02.
  10. "(คลิป) นายก อบจ.พะเยา-น้อง "ผู้กองธรรมนัส" ลาออกอีกจังหวัด กกต.จัดเลือกตั้งใหม่ต้นสิงหาฯ นี้". mgronline.com. 2024-06-18.
  11. บรรยากาศการรับสมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา
  12. "เคาะ 4 ส.ค.67 เลือกตั้ง 'นายก อบจ.อยุธยา' แทนตำแหน่งที่ว่าง หลัง 'ซ้อสมทรง' ชิงลาออก". matichon.co.th. 2024-06-20.
  13. "ซ้อสมทรง ลาออก นายก อบจ.อยุธยา น้ำตาซึมกลางวงประชุม จับตาบิ๊กแจ๊สโมเดล". matichon.co.th. 2024-06-15.
  14. ศึกชิงเก้าอี้นายกอบจ.อยุธยา คึกคัก! ‘ซ้อสมทรง’ ลงสมัครคว้าเบอร์ 2 ด้าน ‘นายกอุ๊’ ได้เบอร์ 1
  15. จังหวัดชัยนาท มีผู้สมัครลงชิงเก้าอี้ นายก อบจ.ชัยนาท 3 คน หลังปิดรับสมัคร
  16. "เปิดประวัติ "อร่าม โล่ห์วีระ" บ้านใหญ่ชัยภูมิ คอนเนคชั่น แน่น แต่งตัวพร้อม รอป้องกันแชมป์ นายกฯ อบจ.ชัยภูมิ อีกสมัย ภายหลังดีลลับการเมืองใหญ่". mgronline.com. 2024-06-29.
  17. ""สุรีวรรณ" ภรรยา "ส.ส.สัมฤทธิ์" ท้าชิงเก้าอี้ "นายก อบจ.ชัยภูมิ"". mgronline.com. 2024-06-29.
  18. "ลาออกอีกจังหวัด! นายก อบจ.พิษณุโลกทิ้งเก้าอี้ก่อนครบวาระ อ้างเลี่ยงกฎ 180 วันกระทบค่าใช้จ่ายหาเสียง". mgronline.com. 2024-06-20.